วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

Historique du parfum


De nombreuses tablettes cunéiformes nous montrent que l'usage et le commerce du parfum étaient connus dès les Sumériens. Tous les peuples antiques en ont fait une grosse consommation, notamment les Égyptiens (Alexandrie possédait d'importantes fabriques). Même s'il a eu aussi un usage profane, il était surtout utilisé lors de pratiques religieuses (offrandes aux dieux, embaumement des corps). Les techniques de production étaient rudimentaires, et le resteront jusqu'à la fin du Moyen Âge : les produits étaient broyés, pilés, bouillis, imprégnés de matières grasses, et on utilisait surtout des écorces, des résines, des racines ou des matières animales servant de fixateurs. La vedette était alors l'encens, produit d'abord à Oman, et qui a largement contribué à la création des royaumes d'Arabie. À titre d'exemple, l'encens est cité 118 fois dans la Bible, dont 113 dans l'Ancien Testament. Sont également cités à diverses reprises le cinnamome, l'acanthe, la myrrhe, le nard, l'aloès, le safran ou le roseau odorant.
Le commerce du parfum a également fait la prospérité des villes phéniciennes et grecques. C'est le cas notamment de
Chypre, où de nouveaux parfums ont été mis à la mode, utilisant les fleurs (rose, iris, lys, jasmin), ou encore de Corinthe, qui passe pour la cité ayant commercialisé les flacons de parfum (aryballes et alabastres).
Les Romains ont continué à utiliser les parfums, mais on ne leur doit guère d'innovations, sinon le remplacement de la terre cuite par le verre pour la confection des flacons. Le Moyen Âge chrétien ne semble guère avoir fait usage des parfums, sinon lors de cérémonies religieuses. Cependant, après les
croisades, la consommation semble augmenter, en particulier sous forme de boules de savon et d'eau de rose.
Le grand bouleversement se produit à la fin du Moyen Âge et à la Renaissance, avec deux innovations : d'une part le perfectionnement de l'alambic, avec un système de refroidissement facilitant la distillation; de l'autre la découverte de l'alcool éthylique, permettant de donner au parfum un support autre que des huiles ou des graisses. Le premier alcoolat célèbre est l'Eau de la Reine de Hongrie (XIVe siècle), préparation à base de romarin et d'essence de térébenthine.
Le parfum acquiert alors ses lettres de noblesse en Occident. On l'utilise notamment pour
parfumer les vêtements, en particulier les gants, le métier de parfumeur étant alors associé à celui de gantier. La ville de Grasse devient la capitale du parfum, on y met au point de nouvelles techniques permettant de mieux recueillir l'essence des fleurs fragiles. Au XVIIIe siècle, on parfume tout, depuis le corps jusqu'aux vêtements et aux divers accessoires, notamment les cuirs. Mais il faudra attendre encore un siècle pour voir apparaître le vaporisateur.
La dernière révolution a lieu à la fin du
XIXe siècle, avec l'essor industriel dont les conséquences sont considérables : conditionnement fabriqué en série, apparition des grands magasins et surtout arrivée des premiers produits de synthèse, liés au développement de la chimie organique.
C'est Aimé
Guerlain, fils du parfumeur qui avait ouvert un magasin à Paris en 1828, qui crée le premier parfum à éléments de synthèse en 1889. Il contient alors de la vanilline et de la coumarine. La parfumerie moderne est née.

วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

10 สิ่งที่ควรทำวันตรุษจีน

10 สิ่งที่ควรทำวันตรุษจีน


1.ไหว้เจ้า ไหว้บรรพบุรุษ และไหว้ผีไม่มีญาติ
วันซาจั๊บ ช่วงเช้าหลังจากไหว้เจ้าในบ้าน คือ "ตีจูเอี๊ย" ไหว้บรรพบุรุษแล้ว
ในตอนเที่ยงจึงไหว้ผีไม่มีญาติ ซึ่งของไหว้จะมีทั้งของคาว-หวาน รวมทั้งเป็ด-ไก่
มากหรือน้อยแล้วแต่ฐานะของผู้ไหว้ และมีเครื่องกระป๋อง ข้าวสาร เกลือ
เพื่อให้ผีไม่มีญาติพกไปด้วย นอกจากนี้ยังต้องจุดขี้ไต้ 2 ชิ้นไว้ด้วย
เมื่อไหว้เสร็จจะจุดประทัด จากนั้นจะโปรยข้าวสารผสมเกลือ ขับไล่สิ่งที่ไม่ดีให้หมดไป

2.รวมญาติกินเกี๊ยว
ความสำคัญอีกประการของตรุษจีน คือเป็นวัน รวมญาติ โดยทุกคนจะเดินทางมาร่วมโต๊ะ
กินเกี๊ยวในวันซาจั๊บมื้อสุดท้ายก่อนขึ้นปีใหม่ และที่ต้องเป็น "เกี๊ยว" ก็เพราะลักษณะของเกี๊ยว
ที่เหมือนกับ "เงิน" ของจีน ให้ความหมายว่า ให้มั่งมีเงินทอง


3.กินเจมื้อเช้า คือมื้อแรกของปี
ส่วนในวันชิวอิก คนจีนจะกินเจมื้อแรกของปี เชื่อกันว่าจะได้บุญเหมือนกับกินเจตลอดทั้งปี

4.ทำพิธีรับ "ไช่ซิงเอี้ย"
"ไช่ซิงเอี้ย" เป็นเทพพิทักษ์ทรัพย์ หรือเทพเจ้าแห่งโชคลาภ ส่วนใหญ่จะทำพิธี
ระหว่างหลังเที่ยงคืนของวันซาจั๊บจนถึงก่อนตี 1

5.ห้ามกวาดบ้าน
ก่อนตรุษจีน จะมีการทำความสะอาดบ้าน ปัดกวาดหยากไย่ครั้งใหญ่ เมื่อถึงวันปีใหม่
จะไม่กวาดบ้านจนถึงวันชิวสี่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวันแรกของการเริ่มต้นทำงาน
เพราะถือว่าจะกวาดเอาสิ่งที่เป็นมงคลทิ้งไป แต่ถ้าบ้านใครสกปรกจนทนไม่ไหว
ก็จะกวาดเข้าคือ กวาดจากหน้าบ้านเข้าไปในบ้าน


6. ติด "ตุ๊ยเลี้ยง" หรือคำอวยพรปีใหม่
เมื่อก่อนคนจีนที่พอมีความรู้จะเขียน "ตุ๊ยเลี้ยง" เอง โดยใช้หมึกดำหรือสีทอง
เขียนคำอวยพรลงบนกระดาษสีแดง ถ้าไม่มีความรู้ก็จะไปจ้างมืออาชีพเขียนให้
ซึ่งแหล่งใหญ่ก็คือที่เยาวราช
คำอวยพรที่เขียนจะประกอบด้วยตัวอักษร 7 ตัว เขียนเป็นคำกลอน
โดยมากจะอวยพรให้ทำมาค้าขึ้น ให้มั่งมีเงินทอง ติดตามสองข้างประตูบ้าน
และมีอีกแผ่นสำหรับติดทางขวางตรงกลางทางเข้า-ออก
เขียนคำว่า "ชุก ยิบ เผ่ง อัง" แปลว่า เข้า-ออกโดยปลอดภัย
รวมทั้งติดภาพเด็กผู้หญิง-เด็กผู้ชาย ที่เรียกว่า "หนี่อ่วย" ซึ่งเป็นภาพมงคลของจีน
ถือเป็นงานศิลปะที่สำคัญอีกอย่างนอกเหนือจากการตัดกระดาษ มักติดที่ประตูหน้าบ้าน

7.ใส่เสื้อผ้าใหม่สีสันสดใส
เพื่อให้เกิดสิ่งดีๆใหม่ๆเข้ามาในปีใหม่ ให้ความสว่างสดใสและความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต


8.ส้ม 4 ผล อวยพรผู้ใหญ่
วันชิวอิกทุกคนจะนำส้ม 4 ผล ไปกราบผู้ใหญ่ขอพร เจ้าบ้านเองนอกจากจะเตรียมเมล็ดแตงโม
ย้อมสีแดงไว้ 1 พาน และลูกสมอจีนไว้รับแขกแล้ว เมื่อมีผู้มาอวยพร
จะรับส้มขึ้นมา 2 ผล และนำส้มในบ้านที่เตรียมไว้วางคืนลง 2 ผล

9.รับอั่งเปา
หุหุ อันนี้เป็นวันเดียวที่เด็กๆรอคอยมาตลอดปี เพราะวันนี้เป็นวันที่ผู้ใหญ่
จะให้ซองแดงใส่เงินแล้วจะมอบให้ผู้น้อย หรือลูกๆหลานๆ เพื่อความโชคดีตลอดปี


10.ไหว้เจ้าเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต
เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ยังเป็นการวิงวอน
ต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยดลบันดาลให้พบแต่ความสุขความเจริญทำมาค้าขึ้น
ธุรกิจเจริญรุ่งเรือง มีสุขภาพแข็งแรง ครอบครัวลูกหลานเป็นคนดีงาม