มาอีกกกกแย้ววววว คร้าบบบบบ ช่วงผ่อนคลายแต่มีสาระง๊าบบบบบบ
วันนี้ มีเพลงเพราะ ๆ มาฝาก มีทั้ง เอมวีและเนื้อเพลงพร้อมคำแปลง๊าบบบบบบ
เพลงนี้ .... โดนมากมาย ถึงเพลงจะเก่า แต่ มันไม่เก่าในใจนี้อ่านะ
Perfect : Simple Plan
Hey dad look at me
พ่อ มองลูกสิ
Think back and talk to me
ลองย้อนคิดดูและบอกกับลูกด้วยว่า
Did I grow up according to plan?
ลูกเติบโตขึ้นตามเส้นทางที่วางไว้หรือเปล่า
And Do you think I'm wasting my time
และพ่อคิดว่าลูกกำลังเสียเวลาอยู่หรือเปล่า
Doing things I wanna do?
ในการทำสิ่งที่ลูกต้องการจะทำ
But it hurts when you disapprove all along
แต่มันเป็นความเจ็บปวดเหลือเกินที่พ่อไม่เคยเห็นด้วยตลอดมา
And now I try hard to make it
และตอนนี้ลูกก็พยายามอย่างยิ่งที่จะทำให้ได้
I just want to make you proud
ลูกอยากให้พ่อภูมิใจในตัวลูก
I'm never gonna be good enough for you
ลูกไม่เคยดีพอในสายตาพ่อเลย
I can't pretend that I'm alright
ลูกไม่อาจเสแสร้งได้ว่าลูกสบายใจดี
And you can't change me
และพ่อก็ไม่สามารถจะเปลี่ยนลูกได้ด้วย
Cuz we lost it all
เพราะว่าเราต่างก็หลงทาง
Nothing lasts forever
ไม่มีอะไรยั่งยืนนานตลอดไป
I'm sorry I can't be perfect
ลูกเสียใจที่ลูกไม่สมบูรณ์แบบ
Now it's just too late
และเมื่อมาถึงตอนนี้มันก็สายเกินไปเสียแล้ว
And We can't go back
เราไม่เดินกลับหลัง
I'm sorry I can't be perfect
พ่อ ลูกเสียใจที่ไม่อาจเป็นคนสมบูรณ์แบบได้
I try not to think
ลูกพยายามที่จะไม่คิด
About the pain I feel inside
ถึงความเจ็บปวดที่รู้สึกอยู่ภานในใจ
Did you know you used to be my hero?
พ่อรู้ไหมว่าพ่อเคยเป็นฮีโรในใจลูก
All the days you spend with me
ตลอดมาที่เราได้ใช้เวลาอยู่ด้วยกัน
Now seem so far away
เวลาเหล่านั้นช่างดูห่างไกลเหลือเกิน
And it feels like you don't care anymore
และดูเหมือนว่าพ่อเองก็ไม่ได้สนใจเรื่องเหล่านั้นอีกต่อไป
And now I try hard to make it
พ่อ ลูกพยายามอย่างยิ่งที่จะทำให้ได้
I just want to make you proud
ลูกอยากทำให้พ่อภูมิใจ
I'm never gonna be good enough for you
เพราะลูกไม่เคยดีพอในสายตาพ่อเลย
I can't stand another fight
แต่ตอนนี้ลูกไม่อาจทนกับการต่อสู้นั้นได้แล้ว
And nothing's alright
ตอนนี้มันไม่ไหวแล้ว
Cuz we lost it all
เพราะว่าเราต่างก็หลงทาง
Nothing lasts forever
ไม่มีอะไรยั่งยืนนานตลอดไป
I'm sorry I can't be perfect
ลูกเสียใจที่ลูกไม่สมบูรณ์แบบ
Now it's just too late
และเมื่อมาถึงตอนนี้มันก็สายเกินไปเสียแล้ว
And We can't go back
เราไม่เดินกลับหลัง
I'm sorry I can't be perfect
พ่อ ลูกเสียใจที่ไม่อาจเป็นคนสมบูรณ์แบบได้
Nothing's gonna change the things that you said
ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงในทุกสิ่งที่พ่อพูดหรอก
Nothing's gonna make this right again
แต่ก็ไม่มีอะไรทำให้ทุกอย่างดำเนินไปในทางที่ถูกที่ควรได้อีกครั้ง
Please don't turn your back
พ่อช่วยหันกลับมาหน่อยได้ไหม
I can't believe it's hard Just to talk to you
ลูกไม่อยากจะเชื่อหรอกว่ามันจะยากลำบากนักกับการได้พูดคุยกับพ่อ
But you don't understand
แต่พ่อต่างหากที่ไม่เข้าใจ .......
Cuz we lost it all เพราะว่าเราต่างก็หลงทางNothing lasts forever
ไม่มีอะไรยั่งยืนนานตลอดไป
I'm sorry I can't be perfect
ลูกเสียใจที่ลูกไม่สมบูรณ์แบบ
Now it's just too late
และเมื่อมาถึงตอนนี้มันก็สายเกินไปเสียแล้ว
And We can't go back เราไม่เดินกลับหลัง
I'm sorry I can't be perfect
พ่อ ลูกเสียใจที่ไม่อาจเป็นคนสมบูรณ์แบบได้
วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550
Perfect : Simple Plan
ช็อกโกแลต
ช็อกโกแลต
ชาวมายาซึ่งอาศัยอยู่ใน ทวีปอเมริกากลาง เมื่อราว 1,400 ปีก่อน เคยดื่มน้ำชนิดหนึ่งซึ่ง หอมกรุ่นและให้ รสชาติซาบซ่าน เรียกว่า “ช็อกโกแลทัล” ฟังคุ้นๆ ไหม? ใช่แล้ว ชนโบราณเผ่านี้ ดื่มน้ำช็อกโกแลต!
เราเป็นหนี้บุญคุณชาวมายา เพราะพวกเขาเป็น ผู้เสกต้นโกโก้ให้กลายเป็นช็อกโกแลต นับเป็นการค้นพบที่สำคัญยิ่งต่อปากของมนุษยชาติ ต้นโกโก้ปลูกกันทั่วทวีปอเมริกากลางเมื่อ สองพันปีก่อน เติบโตได้ดีในอากาศร้อนและในผลโกโก้ นี่แหละที่ซ่อนเมล็ดเล็กๆ สีม่วงไว้มาก มาย เมื่อนำเมล็ดอัศจรรย์เหล่านี้ไปตากแห้งและผ่านกระบวนการต่างๆ มันก็จะกลายสภาพเป็นช็อกโกแลตที่เราโปรด ปรานนั่นเอง
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นชาวยุโรป คนแรกที่ได้เห็นและสัมผัสเมล็ดโกโก้ ก่อนหน้านี้ไม่มีใครในแถบยุโรปรู้จักช็อกโกแลตที่แสนอร่อยเลยจนกระทั่ง ค.ศ. 1492 ซึ่งเป็นปีที่โคลัมบัส ค้นพบทวีปอเมริกา ลูกชายของโคลัมบัสซึ่งติดตามไปอเมริกาด้วย ได้พบเรือบดบรรทุกสินค้าลำใหญ่ของ ชาวพื้นเมือง เขาบันทึกเหตุการณ์เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1502 ไว้ว่า “พวกชนพื้นเมือง อเมริกันถือว่าเมล็ดถั่ว (หมายถึงเมล็ดโกโก้) มีค่ามาก พอเมล็ดถั่วตก พวกเขาทุกคน จะหยุดแล้วเก็บมัน ขึ้นมาราวกับทำลูกตา ตกหล่นอย่างนั้นแหละ”
โคลัมบัสกับลูกเรือไม่รู้ว่า เมล็ดโกโก้ เป็นสิ่งที่ใช้แทนเงิน (ถ้ารู้คงไม่เขียนนินทา ชาวพื้นเมืองอย่างนั้นแน่) เมื่อกลับยุโรป ในบรรดาสิ่งของน่าตื่นตาตื่นใจมากมาย ที่โคลัมบัสนำมาถวายกษัตริย์และราชินีของสเปนนั้น มีเมล็ดดำๆ เล็กๆ คล้ายถั่วปะปนอยู่ ดูแล้วไม่รู้จะเก็บ มาให้หนักทำไม ไม่มีใครรู้ว่าเมล็ดโกโก้ เหล่านี้แหละจะกลายเป็นช็อกโกแลต ที่ทำให้มนุษย์ ทั่วโลกหลงใหลในเวลาต่อมา กษัตริย์เฟอร์ดินันด์มองไม่เห็นคุณค่าของเมล็ดโกโก้ กว่าเมล็ดโกโก้จะกลายเป็น “สมบัติล้ำค่า” ขึ้นมาก็อีก 20 ปีให้หลังโน่น เมื่อเฮอร์นันโด คอร์เทส เดินทางไปพิชิตจักรวรรดิแอสเท็ค
ในช่วงที่คอร์เทส รุกรานแดนเม็กซิโก เขาเห็นชาวแอสเท็คใช้เมล็ดโกโก้ในการเตรียมเครื่องดื่มถวายกษัตริย์ นินทากันว่าจักรพรรดิ มอนเทซูมา ดื่มน้ำช็อกโกแลต ถึงวันละ 50 ถ้วย เมื่อคอร์เทส และกองทัพสเปนมาถึง พระองค์ (ซึ่งคิดว่าคอร์เทสเป็น เทพเจ้า) ทรงให้การต้อนรับด้วย น้ำช็อกโกแลตที่ใส่ในภาชนะทองคำ อย่างสุดหรูราวกับมันเป็นอาหารจากแดนสวรรค์ คอร์เทสเขียนบันทึกไว้ว่ากษัตริย์ มอนเทซูมา ดื่มซอคาแลทัล “...ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่เพิ่มพลังและขับไล่ ความเหนื่อยอ่อน ดื่มแก้วเดียวก็มีเรี่ยวแรงเดินได้ทั้งวัน โดยไม่ต้องกินอาหาร” แต่ซอคาแลทัลของท่านจักรพรรดิทำเอา คอร์เทสแทบสำลักเพราะ มีรสขมมาก ทหารบางคนบอกว่า “น่าจะโยนให้หมูกินดีกว่าเอามาให้พวกเรา”
ชนชั้นสูงดื่มกินน้ำช็อกโกแลต คนที่จะถูกสังเวยชีวิต ในพิธีบูชายัญมนุษย์ จะได้ดื่มน้ำช็อกโกแลตเพื่อ กระตุ้นจิตใจให้มีชีวิตชีวา (เป็นครั้งสุดท้ายก่อนตาย) มีการถวายน้ำช็อกโกแลตให้เทพเจ้าเค็ทซัลคอทัลด้วย
ตามตำนานเล่าว่า เทพเค็ทซัลคอทัลหายลับไปจากโลกเพราะถูกสวรรค์ลงโทษที่นำช็อกโกแลต ซึ่งถือเป็นเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์จาก แดนสวรรค์มาให้มนุษย์ลิ้มลอง แต่สิ่งที่ท่านทิ้งไว้เป็นที่ระลึกก็คือ ต้นโกโก้ที่งอกงามไปทั่วพื้นดิน ท่านจึงได้ครองอีกตำแหน่งหนึ่งคือ เทพแห่งต้นโกโก้
ในปี 1529 เมื่อคอร์เทสปราบพวกแอสเท็คได้สำเร็จ เขาก็นำเมล็ดโกโก้ กลับสเปนด้วย จากนั้นรสชาติของ น้ำช็อกโกแลต ก็ได้รับอิทธิพลของสเปนคือ มีการเพิ่มน้ำตาลทราย วานิลลา กลิ่นอบเชยลงไป เครื่องดื่มนี้ชนะใจคนทุกคน โดยเฉพาะพวกผู้ดีในสเปน สเปนจึงสร้างไร่ โกโก้ในทวีปอเมริกากลางจนกลายเป็นธุรกิจใหญ่โต แต่เก็บศิลปะการทำน้ำช็อกโกแลตไว้เป็นความลับ จากพวกชนชาติยุโรปที่เหลือนานเกือบร้อยปี
พระชาวสเปนได้เก็บการทำน้ำช็อกโกแลตไว้เป็นความลับ แต่ในที่สุดก็รั่วไหลออกมา ภายในเวลาอันรวดเร็วผู้คนทั่วยุโรป ก็ติดอกติดใจน้ำช็อกโกแลตซึ่งถือเป็นอาหาร อร่อยที่เสริมสุขภาพ มีการดื่มกันที่ราชสำนักในฝรั่งเศส น้ำช็อกโกแลตกระจายข้ามน้ำข้ามทะเลไปยังอังกฤษ และในปี ค.ศ. 1675 ร้านน้ำช็อกโกแลตแห่งแรกของอังกฤษก็เปิดขึ้น การดื่มน้ำช็อกโกแลตในยุคนั้น ถือเป็นเรื่องทันสมัย แสดงถึงรสนิยมสูง บรรดาผู้ดีมีสกุลเท่านั้นจึงมีสิทธิลิ้มรส เมื่อเรือกลไฟถูกประดิษฐ์ขึ้น ก็สามารถขนส่งเมล็ดโกโก้ ได้คราวละเป็นจำนวนมาก พอถึงปี 1730 น้ำช็อกโกแลตจึงมีราคาถูกลง จนคนธรรมดาทั่วไปมีโอกาส ลืมตาอ้าปากกินกะเขามั่ง การประดิษฐ์เครื่องบดเมล็ดโกโก้ ในปี 1828 ยิ่งทำให้น้ำช็อกโกแลตราคาถูกลงไปอีก ทั้งยังช่วยกรองไขมันของเมล็ดโกโก้ ออกไปให้รสชาติที่น่าหลงใหลขึ้น จากนั้นมาการดื่ม น้ำช็อกโกแลตก็แพร่หลายมาจนทุกวันนี้ ในศตวรรษที่ 19 ช็อกโกแลตมีการเปลี่ยนรูป เปลี่ยนร่างอยู่สองอย่างคือ ในปี 1847 บริษัทในอังกฤษได้ผลิต “ช็อกโกแลตแท่ง” ที่กินได้ และอย่างที่สองคือ แดเนียล พีเทอร์ ได้หาทางผสมนมลงไปใน ช็อกโกแลต กลายเป็นช็อกโกแลตนมที่เราแทะกินกันอย่างเมามันมาจนทุกวันนี้ ในอเมริกา มีการผลิตช็อกโกแลตกันอย่างไม่ลืมหูลืมตากว่าที่ไหนๆในโลก และในปี 1765 โรงงานช็อกโกแลตแห่งแรกก็เกิดขึ้น สมัยนั้นใครๆ ต่างหลงใหลช็อกโกแลตเสียจน หากขาดตลาด ชาวประชาคงหมดกำลังใจที่จะอยู่ดูโลกต่อไปแน่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลสหรัฐฯตระหนักดีถึงบทบาทสำคัญของช็อกโกแลต ในการบำรุงขวัญกำลังใจและสุขภาพของทหาร จึงได้ส่งเมล็ดโกโก้ ไปให้กองทัพทหาร เป็นจำนวนมาก ทุกวันนี้ ทหารสหรัฐฯ ยังได้รับช็อกโกแลตเป็นเสบียงติดตัว แม้แต่นักบินอวกาศของสหรัฐฯ ยังนำช็อกโกแลตออกไปกินนอกโลกด้วย ให้มนุษย์ต่างดาวน้ำลายไหล
เราเป็นหนี้บุญคุณชาวมายา เพราะพวกเขาเป็น ผู้เสกต้นโกโก้ให้กลายเป็นช็อกโกแลต นับเป็นการค้นพบที่สำคัญยิ่งต่อปากของมนุษยชาติ ต้นโกโก้ปลูกกันทั่วทวีปอเมริกากลางเมื่อ สองพันปีก่อน เติบโตได้ดีในอากาศร้อนและในผลโกโก้ นี่แหละที่ซ่อนเมล็ดเล็กๆ สีม่วงไว้มาก มาย เมื่อนำเมล็ดอัศจรรย์เหล่านี้ไปตากแห้งและผ่านกระบวนการต่างๆ มันก็จะกลายสภาพเป็นช็อกโกแลตที่เราโปรด ปรานนั่นเอง
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นชาวยุโรป คนแรกที่ได้เห็นและสัมผัสเมล็ดโกโก้ ก่อนหน้านี้ไม่มีใครในแถบยุโรปรู้จักช็อกโกแลตที่แสนอร่อยเลยจนกระทั่ง ค.ศ. 1492 ซึ่งเป็นปีที่โคลัมบัส ค้นพบทวีปอเมริกา ลูกชายของโคลัมบัสซึ่งติดตามไปอเมริกาด้วย ได้พบเรือบดบรรทุกสินค้าลำใหญ่ของ ชาวพื้นเมือง เขาบันทึกเหตุการณ์เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1502 ไว้ว่า “พวกชนพื้นเมือง อเมริกันถือว่าเมล็ดถั่ว (หมายถึงเมล็ดโกโก้) มีค่ามาก พอเมล็ดถั่วตก พวกเขาทุกคน จะหยุดแล้วเก็บมัน ขึ้นมาราวกับทำลูกตา ตกหล่นอย่างนั้นแหละ”
โคลัมบัสกับลูกเรือไม่รู้ว่า เมล็ดโกโก้ เป็นสิ่งที่ใช้แทนเงิน (ถ้ารู้คงไม่เขียนนินทา ชาวพื้นเมืองอย่างนั้นแน่) เมื่อกลับยุโรป ในบรรดาสิ่งของน่าตื่นตาตื่นใจมากมาย ที่โคลัมบัสนำมาถวายกษัตริย์และราชินีของสเปนนั้น มีเมล็ดดำๆ เล็กๆ คล้ายถั่วปะปนอยู่ ดูแล้วไม่รู้จะเก็บ มาให้หนักทำไม ไม่มีใครรู้ว่าเมล็ดโกโก้ เหล่านี้แหละจะกลายเป็นช็อกโกแลต ที่ทำให้มนุษย์ ทั่วโลกหลงใหลในเวลาต่อมา กษัตริย์เฟอร์ดินันด์มองไม่เห็นคุณค่าของเมล็ดโกโก้ กว่าเมล็ดโกโก้จะกลายเป็น “สมบัติล้ำค่า” ขึ้นมาก็อีก 20 ปีให้หลังโน่น เมื่อเฮอร์นันโด คอร์เทส เดินทางไปพิชิตจักรวรรดิแอสเท็ค
ในช่วงที่คอร์เทส รุกรานแดนเม็กซิโก เขาเห็นชาวแอสเท็คใช้เมล็ดโกโก้ในการเตรียมเครื่องดื่มถวายกษัตริย์ นินทากันว่าจักรพรรดิ มอนเทซูมา ดื่มน้ำช็อกโกแลต ถึงวันละ 50 ถ้วย เมื่อคอร์เทส และกองทัพสเปนมาถึง พระองค์ (ซึ่งคิดว่าคอร์เทสเป็น เทพเจ้า) ทรงให้การต้อนรับด้วย น้ำช็อกโกแลตที่ใส่ในภาชนะทองคำ อย่างสุดหรูราวกับมันเป็นอาหารจากแดนสวรรค์ คอร์เทสเขียนบันทึกไว้ว่ากษัตริย์ มอนเทซูมา ดื่มซอคาแลทัล “...ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่เพิ่มพลังและขับไล่ ความเหนื่อยอ่อน ดื่มแก้วเดียวก็มีเรี่ยวแรงเดินได้ทั้งวัน โดยไม่ต้องกินอาหาร” แต่ซอคาแลทัลของท่านจักรพรรดิทำเอา คอร์เทสแทบสำลักเพราะ มีรสขมมาก ทหารบางคนบอกว่า “น่าจะโยนให้หมูกินดีกว่าเอามาให้พวกเรา”
ชนชั้นสูงดื่มกินน้ำช็อกโกแลต คนที่จะถูกสังเวยชีวิต ในพิธีบูชายัญมนุษย์ จะได้ดื่มน้ำช็อกโกแลตเพื่อ กระตุ้นจิตใจให้มีชีวิตชีวา (เป็นครั้งสุดท้ายก่อนตาย) มีการถวายน้ำช็อกโกแลตให้เทพเจ้าเค็ทซัลคอทัลด้วย
ตามตำนานเล่าว่า เทพเค็ทซัลคอทัลหายลับไปจากโลกเพราะถูกสวรรค์ลงโทษที่นำช็อกโกแลต ซึ่งถือเป็นเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์จาก แดนสวรรค์มาให้มนุษย์ลิ้มลอง แต่สิ่งที่ท่านทิ้งไว้เป็นที่ระลึกก็คือ ต้นโกโก้ที่งอกงามไปทั่วพื้นดิน ท่านจึงได้ครองอีกตำแหน่งหนึ่งคือ เทพแห่งต้นโกโก้
ในปี 1529 เมื่อคอร์เทสปราบพวกแอสเท็คได้สำเร็จ เขาก็นำเมล็ดโกโก้ กลับสเปนด้วย จากนั้นรสชาติของ น้ำช็อกโกแลต ก็ได้รับอิทธิพลของสเปนคือ มีการเพิ่มน้ำตาลทราย วานิลลา กลิ่นอบเชยลงไป เครื่องดื่มนี้ชนะใจคนทุกคน โดยเฉพาะพวกผู้ดีในสเปน สเปนจึงสร้างไร่ โกโก้ในทวีปอเมริกากลางจนกลายเป็นธุรกิจใหญ่โต แต่เก็บศิลปะการทำน้ำช็อกโกแลตไว้เป็นความลับ จากพวกชนชาติยุโรปที่เหลือนานเกือบร้อยปี
พระชาวสเปนได้เก็บการทำน้ำช็อกโกแลตไว้เป็นความลับ แต่ในที่สุดก็รั่วไหลออกมา ภายในเวลาอันรวดเร็วผู้คนทั่วยุโรป ก็ติดอกติดใจน้ำช็อกโกแลตซึ่งถือเป็นอาหาร อร่อยที่เสริมสุขภาพ มีการดื่มกันที่ราชสำนักในฝรั่งเศส น้ำช็อกโกแลตกระจายข้ามน้ำข้ามทะเลไปยังอังกฤษ และในปี ค.ศ. 1675 ร้านน้ำช็อกโกแลตแห่งแรกของอังกฤษก็เปิดขึ้น การดื่มน้ำช็อกโกแลตในยุคนั้น ถือเป็นเรื่องทันสมัย แสดงถึงรสนิยมสูง บรรดาผู้ดีมีสกุลเท่านั้นจึงมีสิทธิลิ้มรส เมื่อเรือกลไฟถูกประดิษฐ์ขึ้น ก็สามารถขนส่งเมล็ดโกโก้ ได้คราวละเป็นจำนวนมาก พอถึงปี 1730 น้ำช็อกโกแลตจึงมีราคาถูกลง จนคนธรรมดาทั่วไปมีโอกาส ลืมตาอ้าปากกินกะเขามั่ง การประดิษฐ์เครื่องบดเมล็ดโกโก้ ในปี 1828 ยิ่งทำให้น้ำช็อกโกแลตราคาถูกลงไปอีก ทั้งยังช่วยกรองไขมันของเมล็ดโกโก้ ออกไปให้รสชาติที่น่าหลงใหลขึ้น จากนั้นมาการดื่ม น้ำช็อกโกแลตก็แพร่หลายมาจนทุกวันนี้ ในศตวรรษที่ 19 ช็อกโกแลตมีการเปลี่ยนรูป เปลี่ยนร่างอยู่สองอย่างคือ ในปี 1847 บริษัทในอังกฤษได้ผลิต “ช็อกโกแลตแท่ง” ที่กินได้ และอย่างที่สองคือ แดเนียล พีเทอร์ ได้หาทางผสมนมลงไปใน ช็อกโกแลต กลายเป็นช็อกโกแลตนมที่เราแทะกินกันอย่างเมามันมาจนทุกวันนี้ ในอเมริกา มีการผลิตช็อกโกแลตกันอย่างไม่ลืมหูลืมตากว่าที่ไหนๆในโลก และในปี 1765 โรงงานช็อกโกแลตแห่งแรกก็เกิดขึ้น สมัยนั้นใครๆ ต่างหลงใหลช็อกโกแลตเสียจน หากขาดตลาด ชาวประชาคงหมดกำลังใจที่จะอยู่ดูโลกต่อไปแน่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลสหรัฐฯตระหนักดีถึงบทบาทสำคัญของช็อกโกแลต ในการบำรุงขวัญกำลังใจและสุขภาพของทหาร จึงได้ส่งเมล็ดโกโก้ ไปให้กองทัพทหาร เป็นจำนวนมาก ทุกวันนี้ ทหารสหรัฐฯ ยังได้รับช็อกโกแลตเป็นเสบียงติดตัว แม้แต่นักบินอวกาศของสหรัฐฯ ยังนำช็อกโกแลตออกไปกินนอกโลกด้วย ให้มนุษย์ต่างดาวน้ำลายไหล
วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2550
Bière
La bière est une boisson alcoolisée obtenue par fermentation (à l'aide de levures) fabriquée à partir d'eau, de malt (orge germé et torréfié et/ou autres céréales) et de houblon.
Remontant à l'Antiquité (Celtes, Égyptiens), elle reste une boisson très populaire à travers le monde et dans toutes les civilisations.
Des versions faiblement alcoolisées (moins de 2°) sont présentes sur le marché. Contrairement aux autres boissons « sans alcool », elles sont fabriquées par les mêmes procédés que la bière classique. La fabrication industrielle de la bière se déroule dans une brasserie
Remontant à l'Antiquité (Celtes, Égyptiens), elle reste une boisson très populaire à travers le monde et dans toutes les civilisations.
Des versions faiblement alcoolisées (moins de 2°) sont présentes sur le marché. Contrairement aux autres boissons « sans alcool », elles sont fabriquées par les mêmes procédés que la bière classique. La fabrication industrielle de la bière se déroule dans une brasserie
Histoire
Au Néolithique (VIIIe millénaire av. J.-C.), l’homme découvrit la culture des céréales et la fermentation par hasard. Souvent composée d’orge, cette bière préhistorique entrée dans l'alimentation courante traversa le temps jusqu'à ce que la culture de l'orge soit attestée en Mésopotamie dès le IXe millénaire av. J.-C. et le brassage de la bière vers le IVe millénaire av. J.-C.. Consommée en famille et utilisée comme moyen de paiement à Babylone, puis boisson des dieux en Égypte, la bière devint dans la Grèce antique et dans l'Empire romain celle du pauvre, et le vin celle des dieux. Elle resta cependant la boisson de choix des peuples du nord, celtes et germains. La préférence pour le vin se confirma dans l'Europe chrétienne au début du Moyen Âge, notamment grâce au concile d'Aix-la-Chapelle de 816 qui encouragea les viticultures épiscopales et monastiques dans le but de célébrer l'eucharistie. Il fallut attendre le VIIIe siècle pour voir le brassage de la bière y reprendre de l'importance, en particulier en Bavière. Par la suite, aux environs du XIIe siècle, certains monastères (par exemple en Belgique et en Bavière) se spécialisèrent dans le brassage de la bière, bue par la population à la place d'une eau souvent non potable.
Aujourd'hui, la bière jouit d'un succès mondial en tant que boisson désaltérante et de dégustation. Ce succès remonte au XIXe siècle où la maîtrise de la fermentation basse grâce à la réfrigération et la pasteurisation permirent la production de nouvelles variétés de bière ainsi que leur exportation. Par exemple la pils, bière lager née à Plzeň en Bohême (République tchèque) en 1842, a conquis la planète au point de représenter 90 % de la consommation mondiale.
Fabrication
La fabrication de la bière a évolué à travers les âges. Ce que l'on considérait comme de la bière il y a 8000 ans est sans aucun doute très éloigné de ce que nous connaissons aujourd'hui. Les « migrations » de ce breuvage à travers le Monde et le temps ont obligé les brasseurs à adapter le mode de fabrication en fonction des évolutions techniques et des matières premières disponibles. Ce qui n'était autrefois qu'une sorte de « bouillie » alcoolisée plus proche des aliments solides que des boissons, est devenu, notamment grâce aux progrès de la micro-biologie et des techniques industrielles au XIXe siècle, la boisson limpide que l'on connaît aujourd'hui. Les méthodes de fabrication actuelles sont cependant très proches de celles de ces derniers siècles ce qui dénote une normalisation dans le processus de fabrication.
Pour produire de la bière, il faut certaines matières premières qui vont être transformées tout au long du processus de fabrication. Il est nécessaire de disposer :
d'eau de très bonne qualité : l'eau constitue 80 à 90 % de la bière. Ses qualités sont donc très importantes, elles sont à l'origine de la clarté et du goût de la bière. Elle permet au malt et au houblon de libérer leurs sucres et leurs arômes ;
de malt (essentiellement d'orge mais également de froment pour la Weizenbier) ;
de houblon. Le houblon contient des acides qui stabilisent la bière et lui procurent son amertume, ainsi que des huiles essentielles qui enrichissent ses arômes ;
de grains crus (des céréales non fermentissibles qui donneront leurs sucres, notamment du froment pour la bière blanche et le lambic).
Dans un verre, on trouve ainsi en moyenne :
35 cl d'eau ;
50 g d'orge ;
0,5 g de houblon ;
et une pincée de levure.
Pour transformer ces matières premières, on va utiliser diverses techniques de chauffage, de trempage et utiliser des levures afin de permettre la fermentation du moût (production d'alcool).
Les étapes de fabrication sont les suivantes :
le maltage ;
la saccharification ;
l'ébullition (également appelée 'houblonnage') ;
la fermentation ;
la garde ;
le conditionnement (pouvant être précédé d'une filtration et suivi d'une pasteurisation).
Types
Pour des raisons pratiques, les consommateurs ont rapidement classé les bières afin de s'y retrouver parmi le nombre important de bière sur le marché. Il existe deux types principaux de classement : le « classement par couleur », et le « classement par fermentation ». Le « classement par couleur » correspond uniquement à la couleur de la bière, indépendamment de sa méthode de fabrication, de sa composition, ou de sa provenance. A contrario, le « classement par fermentation » correspond au type de fermentation de la bière, ainsi que, dans certains cas, de la couleur. Les détails de ces catégories sont les suivants :
par couleur[1] :
l'ambrée ;
la blanche, de couleur très claire, à base de froment ;
la blonde dont font partie la plupart des lagers ;
la brune aux malts torréfiés ;
la noire (principalement le stout) à base de malt très torréfiés (malt noir de 1000 EBC, voir plus) ;
la rousse ;
par fermentation :
la lager, dont la pils, bière blonde « classique », à basse fermentation ;
l'ale, bière de fermentation haute ;
le lambic, à fermentation spontanée, à la base du faro, de la gueuze et de bières fruitées telle la kriek ;
par structure de goût[2] :
les douces ;
les amères ;
les acides ;
les liquoreuses ;
les saugrenues (surprenantes et inclassables) ;
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)